วันพุธที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2550

File presentation ต้องเปิดด้วย OpenOffice.org 2.0 Impress

สภาวิศวกร จัดสัมมนา “ ชี้แจงเกณฑ์การขอรับใบอนุญาต ระดับภาคีวิศวกร เกณฑ์ปัจจุบัน และเกณฑ์ใหม่ ปี 2552 ”
สภาวิศวกร นำโดยนายเรืองศักดิ์ วัชรพงศ์ อุปนายกสภาวิศวกร, นายกมล ตรรกบุตร กรรมการสภาวิศวกร, นายฤชากร จิรกาลวสาน กรรมการสภาวิศวกร, นายเกษม กุหลาบแก้ว อนุกรรมการ และคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง จัดการประชุมสัมมนา เรื่อง “ ชี้แจงเกณฑ์การขอรับใบอนุญาต ระดับภาคีวิศวกร เกณฑ์ปัจจุบัน และเกณฑ์ใหม่ ปี 2552 ” เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2550 ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร ว.ส.ท. โดยมีผู้แทนจากสถาบันการศึกษาต่างๆ จำนวนกว่า 70 ท่าน เข้าร่วมรับฟังการชี้แจงเกณฑ์การขอรับใบอนุญาต ระดับภาคีวิศวกร
Download เอกสารประกอบการสัมมนา Presentation 1 Presentation 2

ppt1 : Presentation 1

มติ ก.ว. และ มติ คณะกรรมการสภาวิศวกรที่เกี่ยวข้อง

มติ ก.ว. / คณะกรรมการสภาฯ

1. มติ ก.ว. ครั้งที่ 5/2530 วันที่ 12 พฤษภาคม 2530
ไม่รับพิจารณาผู้ที่สำเร็จการศึกษาใน **หลักสูตร วท.บ.**
ที่มิใช่ทางช่าง หรือปริญญาตรีอื่น ที่มีหลักสูตรเป้าหมาย
หรือวัตถุประสงค์ของการศึกษาที่มิใช่เป็นการทำงานด้านช่าง
เช่น วท.บ. คณิตศาสตร์ / วท.บ. ฟิสิกส์ /
วท.บ. ฟิสิกส์ ประยุกต์ – โซลิสเตทอิเล็กทรอนิกส์ /
วท.บ. การจัดการงานก่อสร้าง /
วท.บ. เคมี และ วท.บ. เคมีอุตสาหกรรม


2. มติ ก.ว. ครั้งที่ 3/2542 วันที่ 8 มีนาคม 2542

ให้พิจารณาคำขอรับใบอนุญาตของผู้จบหลักสูตร
ค.อ.บ. ทุกสาขาวิศวกรรม ทุกวิทยาเขต จาก
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลที่เข้าศึกษา ก่อนปีการศึกษา 2541
ส่วนผู้ที่เข้าศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2541 เป็นต้นไป
ต้องเข้ากระบวนการตามหลักเกณฑ์
การรับรองหลักสูตร และการออกใบอนุญาต

3. มติ ก.ว. ครั้งที่ 9/2542 วันที่ 13 กันยายน 2542

กำหนดให้ผู้ที่จบจากปริญญาที่ ก.ว. รับรองหลักสูตร
ให้เป็น **คุณวุฒิเทียบทั้งหมด**
ต้องเข้ารับการทดสอบความรู้ (ทางวิชาการ)
ประเภทภาคีวิศวกรก่อนได้รับใบอนุญาตฯ
โดยกำหนดให้ดำเนินการกับ
ผู้ที่เข้าศึกษาใน ปีการศึกษา 2543 เป็นต้นไป


4. มติ กรรมการสภาฯ ครั้งที่ 3/2544 วันที่ 26 กพ. 2544

4.1 การกำหนดคุณวุฒิตามมาตรฐานการศึกษา
ให้ถือปริญญาวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศ.บ.) เป็นเกณฑ์หลัก
4.2 การรับรองหลักสูตรและสถาบันการศึกษา
คณะกรรมการสภาฯจะกำหนดภายหลัง
4.3 ในกรณีของคุณวุฒิเทียบที่มีการรับรองไปแล้ว
ผู้ที่เข้ารับการศึกษา ค.อ.บ. ในปีการศึกษา พ.ศ. 2541 เป็นต้นไป
ให้ยึดถือมติ ก.ว. ครั้งที่ 3/2542 วันที่ 8 มีนาคม 2542
สำหรับผู้ที่เข้าศึกษาในหลักสูตร อส.บ. ให้ใช้ มติ ก.ว. ครั้งที่ 9/2542
วันที่ 13 กันยายน 2542
4.4 คุณวุฒิเทียบทุกปริญญา ตั้งแต่ผู้เข้าเรียนในปีการศึกษา 2543 เป็นต้นไป
จะต้องสอบ ( ทางวิชาการ ) ตามเกณฑ์สภาวิศวกร


5. มติ คณะกรรมการสภาฯ ครั้งที่ 10/2544 วันที่ 10 กย. 2544

5.1 การรับรองหลักสูตรและสถาบันการศึกษาตาม พรบ. ก.ว. 2505
โดยอนุโลมนั้น มีผลบังคับใช้สำหรับ ถึงผู้ที่เข้าศึกษาปีการศึกษา 2545
5.2 เงื่อนเวลาการรับรองหลักสูตร ค.อ.บ. และ อส.บ. ดังนี้
5.2.1 ค.อ.บ.
o ผู้เข้าศึกษาถึงปีการศึกษา 2540 คุณวุฒิเทียบ
o ผู้เข้าศึกษาปีการศึกษา 2541 – 2545 คุณวุฒิเทียบเป็นรายบุคคล
และต้องทดสอบความรู้ตามเกณฑ์
o ไม่พิจารณารับรอง ผู้ที่เข้าศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2546 เป็นต้นไป


5. มติ คณะกรรมการสภาฯ ครั้งที่ 10/2544 วันที่ 10 กย. 2544

5.2.2 อส.บ.
o ผู้เข้าศึกษาถึงปีการศึกษา 2542 คุณวุฒิเทียบ
o ผู้เข้าศึกษาปีการศึกษา 2543 – 2545 คุณวุฒิเทียบเป็นรายบุคคล
และต้องทดสอบความรู้ตามเกณฑ์
o ไม่พิจารณารับรอง ผู้ที่เข้าศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2546 เป็นต้นไป


6. มติ คณะกรรมการสภาฯ ครั้งที่ 12/2544 วันที่ 12 พย. 2544

แนวทางการได้ใบอนุญาตฯ ?ู้ที่ยื่นขอตั้งแต่ 15 กพ.2545
ปรับปรุงเกณฑ์ที่ใช้บังคับอยู่ ประกอบด้วย
1. ผลการเรียน นับหน่วยกิต ลำดับที่ 1 ถึง 4 ตั้งแต่ 18 หน่วยขึ้นไป
และลำดับที่ 1 ถึง 9 ตั้งแต่ 39 หน่วยขึ้นไป ได้สิทธิ อบรม / สอบ
ความพร้อมในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ( 5 วิชา ) ***
ผลการสอบ ผ่าน 60 % ทุกวิชา ได้ใบอนุญาตฯ
*** ความปลอดภัย / สิ่งแวดล้อม / กฎหมาย / จรรยาบรรณ /
ทักษะทางวิศวกรรม


6. มติ คณะกรรมการสภาฯ ครั้งที่ 12/2544 วันที่ 12 พย. 2544

2. ผลการเรียน นับหน่วยกิต ลำดับที่ 1 ถึง 4 ตั้งแต่ 12 หน่วย?ึ้นไป
และ ?ำดับที่ 1 ถึง 9 ตั้งแต่ 27 แต่ไม่ถึง 39 หน่วย
ต้องผ่านการสอบวิชาการ **วิชาเฉพาะทางของแต่ละสาขา**
ก่อนได้สิทธิ อบรม / สอบ
ความพร้อมในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ( 5 วิชา )
ผลการสอบ ผ่าน 60 % ทุกวิชา ได้ ใบอนุญาตฯ
( คล้ายกับเกณฑ์เดิม แต่สอบเฉพาะ วิชาเฉพาะทาง )


7. มติ คณะกรรมการสภาฯ ครั้งที่ 1/2546 วันที่ 8 มค. 2546

กำหนดแนวทางผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรคุณวุฒิเทียบไว้ดังนี้
สำหรับผู้ที่เข้าศึกษาปี 2541 - 2542
หลักสูตรต้องได้รับการรับรองจากสภาวิศวกร
สำหรับผู้ที่เรียนวิชาลำดับที่ 1 – 9 ตั้งแต่ 39 หน่วยกิต
และวิชาลำดับที่ 1 – 4 ตั้งแต่ 18 หน่วยกิต ในหลักสูตรที่ได้รับการรับรองเป็นคุณวุฒิเทียบแล้ว และผ่านการอบรมทบทวนความรู้ระดับภาคีวิศวกรได้ครบเต็มเวลา ตามหลักสูตรที่กำหนด โดยคณะอนุกรรมการมาตรฐานการศึกษา สามารถประเมินผลในวิชาที่สอบแทนการทดสอบความรู้ทางวิศวกรรมโดยอนุโลม
สำหรับผู้ที่เรียนวิชาลำดับที่ 1 – 9 ระหว่าง 27-38 หน่วยกิต และวิชาลำดับที่ 1 – 4 ระหว่าง 12 - 17 หน่วยกิต จะต้องผ่านการทดสอบความรู้ทางวิศวกรรมหลักเฉพาะสาขา
สำหรับผู้ที่เรียนวิชาลำดับที่ 1 – 9 ระหว่าง 21-26 หน่วยกิต และวิชาลำดับที่ 1 – 4 ระหว่าง 12 - 17 หน่วยกิต จะต้องผ่านการทดสอบความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรม และวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะสาขา

7. มติ คณะกรรมการสภาฯ ครั้งที่ 1/2546 วันที่ 8 มค. 2546

สำหรับผู้ที่เข้าศึกษาปี 2543 – 2545
หลักสูตรต้องได้รับการรับรองจากสภาวิศวกร
จะต้องเข้าทดสอบความรู้ทางวิศวกรรมตามเกณฑ์ที่สภาวิศวกรกำหนด

สำหรับผู้ที่เข้าศึกษาปี 2546 เป็นต้นไป
จะพิจารณารับรองหลักสูตรและสถาบันการศึกษา
เฉพาะหลักสูตร วศ.บ. เท่านั้น


ขอขอบคุณ
สภาวิศวกร
Tel 02-935-6868 Email : coe@coe.or.th
www.coe.or.th
Webboard สภาวิศวกร
http://www.coe.or.th/eservice/coe_webboard/coe_index.php

ppt2.pps

หน้า1(น.1)
สภาวิศวกร

นำเสนอโดย
ดร. กมล ตรรกบุตร
กรรมการสภาวิศวกร

น.2
สภาวิศวกร
1.แนะนำสภาวิศวกร
2.การรับรองหลักสูตร
3.คุณสมบัติผู้ยื่นขอรับใบอนุญาตฯ

น.3
วัตถุประสงค์ของสภาวิศวกร
ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ และให้บริการด้าน วิชาการ วิทยาการและเทคโนโลยีทางวิศวกรรม
ให้คำปรึกษา หรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายและปัญหาด้านวิศวกรรม รวมทั้งด้านเทคโนโลยี
เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของประเทศไทย

น.4
อำนาจหน้าที่ของสภาวิศวกร ( มาตรา 8 )
ออกใบอนุญาต
สั่งพักใบอนุญาต หรือ เพิกถอนใบอนุญาต
รับรองปริญญา / ประกาศนียบัตร
รับรองความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
เสนอแนะรัฐมนตรี การตั้ง/การเลิก สาขาวิศวกรรมควบคุม
ออกข้อบังคับต่าง ๆ ของสภาวิศวกร

น.5
คณะกรรมการสภาวิศวกรชุดที่ 3
กรรมการสภาวิศวกร ตามมาตรา 24 (1)
กรรมการฯ สมัยที่ 3 วาระระหว่างปี 2549 – 2552 คือท่านที่ขึ้นต้นด้วย Sir น่ะ
น.6
คณะกรรมการสภาวิศวกรชุดที่ 3

กรรมการสภาวิศวกร ตามมาตรา 24 (2)
คือท่านที่มีชื่อดังนี้ 5ชื่อนี้ ท่านศุลี, ท่านต่อกุล, ท่านประสิทธิ์, ท่านฤชากร, ท่านวรากร

กรรมการสภาวิศวกร ตามมาตรา 24 (3) คือท่านที่เหลือคือ ท่านสุวัฒน์, ท่านรัชทิน, ท่านชัยสวัสดิ์, ท่านปรีชา, ท่านฐิระวัตร

น.7
นโยบายคณะกรรมการสภาวิศวกรชุดที่ 32549 - 2552

1. ด้านการประกอบวิชาชีพ
1.1. ปรับปรุงขั้นตอนและวิธีการพิจารณาออกใบอนุญาตให้เป็นธรรมและถูกต้อง
ตาม พ.ร.บ. วิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 และ พ.ร.บ. วิศวกร พ.ศ. 2542
1.2. สนับสนุนเร่งรัดการเพิ่มสาขาวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม และส่งเสริมการพัฒนา
สาขาวิชาชีพวิศวกรรรมอื่น ที่ไม่ใช่วิศวกรรมควบคุม ให้ประกอบวิชาชีพได้
ทั้งในประเทศและในต่างประเทศ บริหารจัดการ ให้มีการจัดทดสอบความรู้
ระดับภาคีวิศวกร เพื่อการออกใบอนุญาต
1.4. สนับสนุนและส่งเสริมให้วิศวกรมีการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่อง
เพื่อการเลื่อนระดับใบอนุญาตได้
1.5. ส่งเสริมวิชาชีพวิศวกรรมสู่สากล

น.8
นโยบายคณะกรรมการสภาวิศวกรชุดที่ 32549 - 2552

2. ด้านการพัฒนาการศึกษา
2.1. ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันการศึกษาให้ผลิตวิศวกร
ให้มีคุณภาพ และคุณธรรม
2.2. สนับสนุนให้มีการวิจัยระหว่างภาคอุตสาหกรรรม และสถาบันการศึกษา และมีการยกย่อง เชิดชู วิศวกร
ที่มีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม

น.9
นโยบายคณะกรรมการสภาวิศวกรชุดที่ 32549 - 2552

3. ด้านการบริการสมาชิก
3.1 จัดทำเอกสารอ้างอิง อัตราค่าตอบแทนการบริการวิชาชีพแต่ละระดับ
เพิ่มการให้บริการทางวิชาการและความรู้ทางวิชาชีพแก่สมาชิกทั้งบุคคลและนิติบุคคล
3.2 ผลักดันให้หน่วยงานของรัฐเร่งรัดการบังคับใช้ พ.ร.บ. วิศวกร พ.ศ. 2542 เช่น
ควรระบุไว้ในระเบียบการพัสดุของสำนักนายกรัฐมนตรี และการพิจารณาเลื่อนตำแหน่ง
บุคคลของหน่วยงาน เป็นต้น ปรับปรุง ข้อบังคับ ระเบียบ และเกณฑ์ต่างๆ รวมทั้งข้อบังคับ
สภาวิศวกรว่าด้วยการเลือกและการเลือกตั้งกรรมการ สภาวิศวกร พ.ศ.2543
ให้เหมาะสมตามสถานการณ์ปัจจุบัน
3.3 พิจารณาจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิก
3.4 ส่งเสริมความรู้ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิศวกร เช่น กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา
การประกันความรับผิด การรักษาสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น

น.10
นโยบายคณะกรรมการสภาวิศวกรชุดที่ 32549 - 2552

4. ด้านงานบริการเพื่อสังคม
4.1 สนับสนุนให้สมาคมวิชาชีพ (เช่น สมาคมวิศวกรรมสถานฯ
สมาคมวิศวกรรมออกแบบฯ เป็นต้น) และสถาบันการศึกษา
จัดทำมาตรฐานหรือคู่มือในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
4.2. สร้างเครือข่ายวิศวกรอาสา ช่วยเหลือชุมชนในยามประสบภัยพิบัติ
และรณรงค์เรื่องความปลอดภัยสาธารณะ
4.3. ให้คำปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลและสาธารณชนเกี่ยวกับนโยบายและปัญหาด้านวิศวกรรมรวมทั้งด้านเทคโนโลยี
4.4. สร้างเครือข่ายความสัมพันธ์กับหน่วยงานทางวิศวกรรม
และสภาวิชาชีพอื่น

น.11
นโยบายคณะกรรมการสภาวิศวกรชุดที่ 32549 - 2552

5. ด้านการพัฒนาองค์กร
5.1 ปรับปรุงระบบการบริหารงานของสำนักงานสภาวิศวกร
เรื่องการพัฒนา บุคลากรและการให้บริการแก่สมาชิกในบริเวณสำนักงาน
5.2 พัฒนาการของสำนักงานสภาวิศวกรเข้าสู่สากล
5.3 สร้างระบบสารสนเทศในองค์การเพื่อเป็น e-Organization
5.4 ดำเนินการประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อการทำความเข้าใจให้สมาชิก
และเกิดภาพพจน์ที่ดีต่อสภาวิศวกร

น.12
สมาชิกสภาวิศวกรและใบอนุญาตฯ

พรบ. ก.ว. 2505 (ก.ว./ก.ส. ก.มหาดไทย)
ถือใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (หรือใบ กว.)
สภาวิศวกร (ตั้งแต่ 30 พย. 2542)
o ต้องเป็นสมาชิกสภาวิศวกร
o ถือใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

น.13
สมาชิกสภาวิศวกร

ประเภทสมาชิก*
สามัญ - 18 ปี / ไทย / สภารับรองปริญญา
วิสามัญ - ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรม
กิตติมศักดิ์ - ที่ประชุมใหญ่แต่งตั้ง
อัตราค่าธรรมเนียมสมาชิก - 200 บาท / 1 ปี หรือ
- 1,000 บาท / 5 ปี
* ผู้มีใบ ก.ว.เดิม เป็นสมาชิกสภาโดยอัตโนมัติ
ตั้งแต่ 30 พ.ย.42 ถึง 29 พ.ย. 44

น.14
ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ตามสภาฯ (กฎกระทรวงฯ)

ระดับ วุฒิ สามัญ ภาคี ภาคีพิเศษ นิติบุคคล

บัตร 5,000 3,500 1,000 1,000 10,000

ต่ออายุก่อนหมดอายุ 1,500 1,000 500 500 3,000

ต่ออายุหลังหมดอายุ 3,500 3,000 2,500 2,500 5,000

* ต่ออายุล่วงหน้าได้ไม่เกิน 6 เดือน ใบอนุญาตมีอายุ 5 ปี ยกเว้นนิติบุคคลมีอายุ 1 ปี

น.15

จำนวนใบอนุญาต (เมษายน ’50)

สาขา โยธา ไฟกำลัง ไฟสื่อสาร เครื่องกล อุตหการ เหมืองแร่ รวม
ระดับ
ภาคี 36,651 28,809 13,134 24,927 19,519 534 123,574

สามัญ 7,132 3,357 300 2,821 781 278 14,669


วุฒิ 1,523 814 77 810 202 199 3,625


รวม 45,306 32,920 13, 511 28,558 20,502 1,011 141,868

น.16
จำนวนใบอนุญาตหมดอายุ (เมษายน ’50)

สาขา โยธา ไฟกำลัง ไฟสื่อสาร เครื่องกล อุตหการ เหมืองแร่ รวม
ระดับ
ภาคี 5,526 10,822 8,757 10,633 11,714 340 47,792

สามัญ 1,057 557 175 650 336 106 2,881

วุฒิ 209 129 18 269 66 54 745

รวม 6,792 11,508 8,950 11,552 12,116 500 51,418

น.17
การรับรองหลักสูตร

น.18
ขั้นตอนการรับรองหลักสูตร
1. สถาบันยื่นเอกสารขอรับรองหลักสูตร (ปริญญา)
ระเบียบสภาวิศวกรเกี่ยวกับการรับรองหลักสูตร
http://www.coe.or.th/co15law/law_eng.php
2. ตรวจสอบเอกสาร ( อนุสาขาฯ   สถาบันฯ )
3. ตรวจเยี่ยมสถาบัน ( อนุสาขาฯ   สถาบันฯ )
4. เสนอคณะกรรมการสภาวิศวกร เพื่อพิจารณาให้การรับรอง

น.19
เกณฑ์การพิจารณาหลักสูตรการศึกษา
เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นวิศวกร
สอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ตามระบบทวิภาค
(วิชา 3 หน่วยกิต ต้องมีการเรียนวิชาละ 45 ชั่วโมง/เทอม )
3. โครงสร้างของหลักสูตรต้องมีวิชาพื้นฐานและวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม หน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต

น.20
เกณฑ์การพิจารณาหลักสูตรการศึกษา
4. มีแผนการศึกษา รายละเอียดวิชา แผนการสอน และแผนพัฒนา
หลักสูตร และบุคลากร สนองตอบวัตถุประสงค์หลักสูตร
5. มีระบบประกันคุณภาพ และผ่านการรับรองอย่างถาวร
จากสภามหาวิทยาลัย และกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
6. สถาบันหลักต้องผ่านการรับรองก่อน จึงจะพิจารณาวิทยาเขต
7. หลักสูตรต่างประเทศ กพ. ต้อง รับรอง

น.21
กลุ่มวิชาที่สภาวิศวกรให้การรับรอง ปริญญา ประกาศนียบัตร
และวุฒิบัตรเทียบเท่าปริญญาในสาขาวิศวกรรมศาสตร์
( ข้อบังคับสภาวิศวกร 2543 )
1. พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ 18 หน่วยกิต
2. พื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ 18 หน่วยกิต
3. วิศวกรรมหลักเฉพาะ 12 หน่วยกิต
ตารางรายวิชาตั้งแต่ผู้เข้าเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2546
http://www.coe.or.th/subject_coe/subject_m.html

น.22
1. กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
1.1 พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต
1.2 พื้นฐานทางฟิสิกส์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
1.3 พื้นฐานทางเคมี ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
ฟิสิกส์และเคมีต้องมีภาคปฏิบัติการด้วย แต่จะไม่นับหน่วยกิต
แต่ละวิชาต้องได้ D ขึ้นไป

น.23
2. กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ - ME
2.1 Engineering Drawing
2.2 Engineering Mechanics
2.3 Engineering Materials
2.4 Computer Programming
2.1-2.4 บังคับเรียนต้องผ่าน D ขึ้นไป

2.5 Thermodynamics
2.6 Fluid Mechanics
2.7 Mechanics of Materials
2.8 Manufacturing Processes
2.5-2.8นับผ่าน C รวม 6 วิชาขึ้นไป

นับวิชาที่ผ่าน C ขึ้นไป รวม 18 หน่วยกิต

น.24
3. กลุ่มวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ (เครื่องกล)
3.1 Mechanics of Machinery/ Dynamics of Machines/ Ship Dynamics/ Dynamics of Vehicles/ Mechanics of Flight/ Theory of Machines/ Theory of Agricultural Machines
3.2 Machine Design/ Mechanical Design/ Ship Design/ Aircraft Design/ Agricultural Machinery Design
3.3 Automatic Control/ Digital Control/ Automotive Control/ Fluid Power Control
3.4 Mechanical Vibration/ Vibration Control
3.5 Internal Combustion Engines/ Combustion
3.6 Air Conditioning/Refrig./ Freezing and Cold Storage
3.7 Heat Transfer/ Heat & mass Transfer/ Thermal Sys.Design
3.8 Power Plant Eng./ Ship Propuls. & Engines/ Aircraft Power/ Power for Agri. Sys.
นับผ่าน C รวม 4 วิชาจาก 4 กลุ่ม ขึ้นไป

น.25
2. กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ - IE
2.1 Engineering Drawing
2.2 Engineering Mechanics
2.3 Engineering Materials
2.4 Computer Programming
2.1-2.4บังคับเรียนต้องผ่าน D ขึ้นไป

2.5 Engineering Statistics / Probability and Statistics
2.6 Manufacturing Processes
2.7 Thermodynamics
2.8 Fundamental of Electrical Engineering / Chemical Process Instrumentation
2.5-2.8นับผ่าน C รวม 6 วิชาขึ้นไป

นับวิชาที่ผ่าน C ขึ้นไป รวม 18 หน่วยกิต

น.26
3. กลุ่มวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ (อุตสาหการ)
3.1 Industrial Work Study / Chemical Engineering Kinetics and Reactor Design
3.2 Operations Research / Chemical Engineering Principles and Calculations
3.3 Production Planning and Control / Process Dynamics and Control
3.4 Quality Control / Unit Operations
3.5 Industrial Plant Design / Chemical Engineering Plant Design
3.6 Safety Engineering / Safety in Chemical Operations3.7 Maintenance Engineering / Environmental Chemical Engineering 3.8 Engineering Economy
นับผ่าน C รวม 4 วิชาจาก 4 กลุ่ม ขึ้นไป

น.27
2. กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ – EE
2.1 Engineering Drawing
2.2 Engineering Mechanics
2.3 Engineering Materials
2.4 Computer Programming
2.1-2.4บังคับเรียนต้องผ่าน D ขึ้นไป

2.5 Electric Circuits
2.6 Engineering Electronics
2.7 Electromagnetic Fields
2.8 Control System
2.5-2.8นับผ่าน C รวม 6 วิชาขึ้นไป

นับวิชาที่ผ่าน C ขึ้นไป รวม 18 หน่วยกิต

น.28
3. กลุ่มวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ (ไฟฟ้ากำลัง)
3.1 Electrical Instruments
and Measurement
3.2 Electrical Machines
3.3 Electrical System Design
3.4 Power Plant and Substation
3.5 Protection and Relay
3.6 Electric Power System
Analysis
3.7 High Voltage
Engineering
3.8 Power Electronics

นับผ่าน C รวม 4 วิชาจาก 4 กลุ่ม ขึ้นไป

น.29
2. กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ – CE
2.1 Engineering Drawing
2.2 Engineering Mechanics
2.3 Engineering Materials
2.4 Computer Programmin
2.1-2.4บังคับเรียนต้องผ่าน D ขึ้นไป

2.5 Engineering
Management
2.6 Strength of Materials
2.7 Fluid Mechanics
/Hydraulics
2.8 Surveying
2.5-2.8นับผ่าน C รวม 6 วิชาขึ้นไป

นับวิชาที่ผ่าน C ขึ้นไป รวม 18 หน่วยกิต

น.30
3. กลุ่มวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ (โยธา)
3.1 Theory of Structures /
Structural Analysis
3.2 Reinforced Concrete Design /
Timber and Steel Design
3.3 Soil Mechanics
3.4 Highway Engineering
บังคับเรียนรายวิชาที่ 3.1 และ 3.2

3.5 Hydraulic Engineering
3.6 Water Supply and Sanitary
Engineering / Water Supply
Engineering and Design
3.7 Route Surveying /
Photogrammetry
3.8 Construction Management /
Environmental Systems
and Management

นับผ่าน C รวม 4 วิชาจาก 4 กลุ่ม ขึ้นไป

น.31
คุณวุฒิและจำนวนอาจารย์

น.32
สำหรับอาจารย์ผู้สอนวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ
เกณฑ์ ก.ว. เดิม ( ข้อบังคับ ก.ว. 2540 )

อาจารย์ผู้สอน
วิชาลำดับ 1-4 ต้องเป็น วศ.บ. + (สามัญวิศวกร หรือ วศ.ม.) หรือ
วศ.บ. + ผศ./รศ./ศ. หรือ
(คอ.บ. หรือ อส.บ.) + (วศ.ม.ตรงสาขา หรือ
สามัญวิศวกร หรือ ผศ./รศ./ศ.)

อาจารย์ผู้สอน
วิชาลำดับ 5-9 ต้องเป็น วศ.บ. ตรงสาขา หรือ
เหมือนอาจารย์ผู้สอนลำดับ 1-4

เกณฑ์นี้ใช้สำหรับอาจารย์ที่เข้าทำงานถึงปีการศึกษา 2545
ส่วนอาจารย์ที่เข้าทำงานตั้งแต่ปีการศึกษา 2546 ต้องมีวุฒิ วศ.ม.

น.33
เกณฑ์การพิจารณาอาจารย์ผู้สอน ข้อบังคับสภาฯ 2543
1. หัวหน้าภาค+อาจารย์ประจำอย่างน้อย 2 คน
มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาโท วศ.ม. ตรงสาขา
และตรี วศ.บ. หรือที่สัมพันธ์กันในสาขานั้น
2. อัตราส่วนของอาจารย์ ต่อ นศ. ทุกชั้นปี ไม่น้อยกว่า 1 : 20
3. ผู้สอนวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาโท

น.34
เกณฑ์การพิจารณาอาจารย์ผู้สอน 2543
4. ผู้สอนวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์
4.1 คุณวุฒิไม่ต่ำกว่าโท วศ.ม. และตรี วศ.บ.
หรือที่สัมพันธ์กันในสาขานั้น หรือ
4.2 คุณวุฒิไม่ต่ำกว่าโท วศ.ม. และตรี
( ไม่ใช่ วศ.บ. + ประสบการณ์สอน 3 ปีขึ้นไป ) หรือ

น.35
เกณฑ์การพิจารณาอาจารย์ผู้สอน 2543
4.3 วิชาที่คาบเกี่ยวกับทางวิทยาศาสตร์ อาจมีวุฒิปริญญาตรี
และโท ทางวิทยาศาสตร์
4.4 มีคุณวุฒิเดิมที่เคยสอนในหลักสูตรที่สภาวิศวกรหรือ ก.ว.เดิม ให้การรับรองก่อนปีการศึกษา 2546
4.5 กรณีผู้สอนไม่มีคุณวุฒิดังกล่าวข้างต้น
ให้สถาบันพิจารณา และเสนอให้สภาวิศวกร
พิจารณาเป็นการเฉพาะราย

น.36
เกณฑ์การพิจารณาอาจารย์ผู้สอน 2543
5. ผู้สอนวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ
5.1 ไม่ต่ำกว่าโททางวิศวกรรมศาสตร์ วศ.ม. และตรี วศ.บ. ตรงสาขา
หรือที่สัมพันธ์กัน (วิศวกรรมศาสตร์) หรือ
5.2 ไม่ต่ำกว่าโททางวิศวกรรมศาสตร์ วศ.ม. และตรี (ไม่ใช่ วศ.บ. +
ประสบการณ์สอน 5 ปีขึ้นไป ) หรือ
5.3 มีคุณวุฒิเดิมที่เคยสอนในหลักสูตรที่สภาวิศวกร
หรือ ก.ว. เดิม ให้การรับรองก่อนปีการศึกษา 2546
5.4 กรณีผู้สอนไม่มีคุณวุฒิดังกล่าวข้างต้น ให้สถาบันพิจารณา
และเสนอให้สภาวิศวกรพิจารณาเป็นการเฉพาะราย

น.37
อาจารย์ที่ผ่านเกณฑ์เดิมของ กว.
สามารถสอนในหลักสูตรใหม่ของสภาวิศวกรได้

อาจารย์ที่จะสอนวิชาที่สภากำหนด
รับเข้าตั้งแต่ปีการศึกษา 2546 ต้องวุฒิ วศ.ม.

น.38
ห้องปฏิบัติการ

น.39
ห้องปฏิบัติการสาขา ME

Minimum Requirement
1. Fluid Mechanics Lab.
2. Automotive Lab.
3. Thermodynamics & Heat Transfer Lab.
4. Dynamics Lab.
5. Material Testing Lab.

น.40
ห้องปฏิบัติการสาขา CE
Minimum Requirement
1. ห้องปฏิบัติการทดสอบกำลังวัสดุ
2. ห้องปฏิบัติการทดสอบคอนกรีต
3. ห้องปฏิบัติการทางด้านปฐพีกลศาสตร์
4. ห้องปฏิบัติการชลศาสตร์
5. ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมสำรวจ
6. ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุอัสฟัลท์

น.41
ห้องปฏิบัติการสาขา EE
Minimum Requirement
1. ห้องปฏิบัติการวงจรไฟฟ้า
2. ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า
3. ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิคส์
4. ห้องปฏิบัติการเครื่องวัดทางไฟฟ้า
5. ห้องปฏิบัติการระบบควบคุม
6. ห้องปฏิบัติการไมโครโพรเซสเซอร์
7. ห้องปฏิบัติการระบบไฟฟ้ากำลัง
8. ห้องปฏิบัติการไฟฟ้าสื่อสาร

น.42
ห้องปฏิบัติการสาขา IE
Minimum Requirement
1. ห้องปฏิบัติการวัสดุ
2. ห้องปฏิบัติการกระบวนการผลิต
3. ห้องปฏิบัติการ Work Study
4. ห้องปฏิบัติการการวัด
5. ห้องปฏิบัติการ Automation
6. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

น.43
การยื่นขอรับการรับรองหลักสูตรฯ
ดูตัวอย่างตารางเทียบรายวิชาที่ต้องจัดทำ
และรายละเอียดของเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ ได้จาก
www.coe.or.th
ในหัวข้อ การรับรองหลักสูตร /
คู่มือการรับรองหลักสูตรเกณฑ์ใหม่

น.44
เกณฑ์การพิจารณา
คุณสมบัติผู้ยื่นขอรับใบอนุญาตฯ

น.45
เกณฑ์ ข้อบังคับ ก.ว. 2540สภาวิศวกรอนุโลมบังคับใช้ถึงผู้เข้าเรียนปีการศึกษา 2545
ตารางรายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ ถึงผู้เข้าเรียนปีการศึกษา 2545
http://www.coe.or.th/co02reg/co02sub/co02sub00.html

น.46
เกณฑ์ ข้อบังคับ ก.ว. 2540
แบ่งรายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะของแต่ละสาขา ออกเป็น 9 ลำดับวิชา
มีระบบการเรียนแบบปีละ 2 เทอม เป็นฐาน
รายวิชา 3 หน่วยกิต ต้องมีการเรียนวิชาละ 45 ชั่วโมง/เทอม
นับหน่วยกิตเฉพาะรายวิชาที่เรียนผ่าน C ขึ้นไป
บังคับเรียนรายวิชาลำดับที่ 1 – 4 (อย่างน้อยต้องผ่าน D )
ลำดับที่ 1 – 8 นับได้ลำดับละไม่เกิน 2 วิชา
( ยกเลิก and/or ในภายหลังโดย สภาวิศวกร )
ลำดับที่ 9 นับได้เพียง 1 วิชา

น.47
รายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
ลำดับที่ 1 Internal Combustion Engine / Thermodynamics /
Combustion / Aerothermodynamics

ลำดับที่ 2 Power Plant Engineering / Power for Agriculture
System / Thermal System Design / Agricultural System
Engineering / Heat Transfer / Aircraft Power Plant /
Heat & Mass Transfer

ลำดับที่ 3 Mechanical Design / Aircraft Design /
Fracture Mechanics / Mechanical of Solids / Aircraft
Structures / Agricultural Machinery Design /
Design of Machine Elements

ลำดับที่ 4 Fluid Mechanics / Aerodynamics /
Refrigeration / Air-conditioning / Freezing Preservatio

น.48
รายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
ลำดับที่ 5 Mechanic of Machinery a Engineering Dynamics / Mechanic of Flight
/ Theory of Machines / Theory of Agriculture Machines

ลำดับที่ 6 Automotive Engineering / Agricultural Tractors Engineering
/ Gas Turbine / Turbo Machinery / Fluid Machinery /
Fans, Pumps and Compressors / Air Craft Propulsion

ลำดับที่ 7 Physical Metallurgy / Engineering Materials / Materials Science

ลำดับที่ 8 Mechanical Vibration / Automotive Control / Hydraulic / Pneumatic
Control and/or Automotive & Flight Control System /
Measurements and Instrumentation / Vibration & Noise Control

ลำดับที่ 9 Electrical Engineering / Engineering or Industrial Management /
Information Technology / Others Approved Electives

น.49
รายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ สาขาวิศวกรรมโยธา
ลำดับที่ 1 Theory of Structure and Structural Analysis
ลำดับที่ 2 Reinforced Concrete Design and
Timber & Steel Design
ลำดับที่ 3 Soil Mechanics and Foundation Engineering
or Applied Soil Mechanics
ลำดับที่ 4 Highway Engineering and Hydraulic Engineering
and/or Transportation Engineering and/or Structural Dynamic
and Earthquake Engineering and/or Construction Surveying
Engineering and/or Water Supply and Sanitary Engineering

น.50
รายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ สาขาวิศวกรรมโยธา
ลำดับที่ 5 Material Testing and/or Construction Technique
and/or Construction Management
ลำดับที่ 6 Surveying and/or Photogrammetry
ลำดับที่ 7 Strength of Materials I and Strength of Materials II
ลำดับที่ 8 Hydraulics and/or Fluid Mechanics
ลำดับที่ 9 Other Approved Electives
ตารางรายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ ถึงผู้เข้าเรียนปีการศึกษา 2545
http://www.coe.or.th/co02reg/co02sub/co02sub00.html

น.51
รายวิชาฯ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ลำดับที่ 1 Industrial Plant Design and/or Chemical Engineering Plant Design
and/or Industrial Work Study and / or Chemical Engineering Kinetics
and Reactor Design and/or Ergonomics
ลำดับที่ 2 Production Planning and Control and/or Operation Research and/or Queing Theory and/or Industrial Plant Operations and/or Process Dynamics and Control and/or
Tool Engineering and/or Transport Phenomena and/or Production Technology
ลำดับที่ 3 Quality Control and/or Unit Operation and/or Measurement and
Instrumentation and/or Quality Assurance and/or Automation
ลำดับที่ 4 Engineering Economy and / or Value Engineering and/or Industrial Cost Analysis
and/or Industrial Safety Management and/or Safety in Chemical Operation
and/or Chemical Engineering Thermodynamics and/or Feasibility Study

น.52
รายวิชาฯ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ลำดับที่ 5 Maintenance Engineering and/or Pollution Control
and Waste Treatment
ลำดับที่ 6 Engineering Metallurgy and/or Chemical Process Engineering
and/or Manufacturing Process and/or Corrosion of Metal
and/or Engineering Materials
ลำดับที่ 7 Industrial Law and/or
Industrial Management and/or Environment Law
ลำดับที่ 8 Fundamental of Mechanical Engineering and/or
Fundamental of Electrical Engineering
ลำดับที่ 9 Other Approved Electives

น.53
คุณสมบัติผู้ขอรับใบอนุญาตฯ ภาคีวิศวกร
( ถึงผู้เข้าเรียนปีการศึกษา 2545 )
1. จบการศึกษาจากสถาบันที่ สภาฯ ( หรือ ก.ว. เดิม) รับรองหลักสูตร
2. เรียนครบรายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ** (นับรายวิชาที่ผ่าน C ขึ้นไป)
(คิดจากระบบ 2 เทอม วิชาละ 3 หน่วยกิต เรียน 45 ชั่วโมง/เทอม)
3. คุณสมบัติอื่น ๆ ครบถ้วน :- อายุ / สัญชาติ / สุขภาพ
4. ผ่านการอบรม / สอบ ความพร้อมในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ความรู้เกี่ยวกับ ความปลอดภัย / จรรยาบรรณ / กฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพ /
สิ่งแวดล้อม และ ทักษะทางวิศวกรรม
5. ผู้ที่ขาดรายวิชาสามารถเรียนเพิ่มหรือ Regrade ได้จากทุกหลักสูตรที่ผ่านการรับรองฯ
** อนุโลมนับรายวิชาที่เรียนภาคฤดูร้อน ผ่าน C ตั้งแต่การเรียนในปีการศึกษา 2546)

น.54
การอบรมความพร้อมในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมภาคีวิศวกรและภาคีวิศวกรพิเศษ
ทำการอบรมเป็นเวลา 2 วัน
( อบรม วันครึ่ง สอบ ครึ่งวัน )
ต้อง สอบผ่าน 5 วิชา (60% แต่ละวิชา)
- จรรยาบรรณ
- สิ่งแวดล้อม
- ความปลอดภัย
- กฎหมาย
- ทักษะทางวิศวกรรม
ถ้าสอบไม่ผ่าน 2 ครั้ง ต้องเข้าอบรมให้

น.55
เกณฑ์ที่ใช้พิจารณาหน่วยกิต
1. วุฒิตรง (วศ.บ.บางหลักสูตร)
- ลำดับวิชาที่ 1- 4 ผ่าน C ขึ้นไป นับได้ 18 หน่วยกิต
(ต้องผ่านการเรียน 1 – 4 ทุกลำดับ อย่างน้อยต้องผ่าน D)
- รวมลำดับวิชาที่ 1- 9 ผ่าน C ขึ้นไป นับได้ 39 หน่วยกิต
.....-ได้สิทธิเข้าอบรม

2. วุฒิเทียบ (ค.อ.บ./อส.บ. และ วศ.บ.บางหลักสูตร)
ลำดับวิชาที่ 1- 4 ผ่าน C ขึ้นไป นับได้ 12 หน่วยกิต
(ต้องผ่านการเรียน 1 – 4 ทุกลำดับอย่างน้อยต้องผ่าน D)
รวมลำดับวิชาที่ 1- 9 ผ่าน C ขึ้นไป นับได้ 27 หน่วยกิต
.....-ต้องผ่านการสอบวิชาเฉพาะสาขา (สอบ 1) ก่อนได้สิทธิเข้าอบรมฯ

น.56
เกณฑ์ที่ใช้พิจารณาหน่วยกิต
3.กรณีส่งสอบ ทุกปริญญา
ลำดับวิชาที่ 1- 4 ผ่าน C ขึ้นไป นับได้ 12 หน่วยกิตตามเกณฑ์
รวมลำดับวิชาที่ 1- 9 ผ่าน C ขึ้นไป นับได้ตั้งแต่ 21 หน่วยกิต
แต่ไม่ถึง 27 หน่วยกิต
.....-สอบวิชาพื้นฐาน และ วิชาเฉพาะสาขา (สอบ 2) ก่อน

4. กรณีปฏิเสธ
ลำดับวิชาที่ 1- 4 ผ่าน C ขึ้นไป นับได้ต่ำกว่า 12 หน่วยกิต
หรือขาดเรียนรายวิชาลำดับใด ลำดับหนึ่ง
รวมลำดับวิชาที่ 1- 9 ผ่าน C ขึ้นไป นับได้ไม่ถึง 21 หน่วยกิต

น.57
การสอบ ภาคีฯhttp://www.coe.or.th/co04new/2005/New_lic-50.pdf
1. วิชา พื้นฐาน : ทุกสาขา ประกอบด้วย วิชา
Engineering Mathematics, Engineering Materials,
Engineering Mechanics- Statics, Engineering Drawing
2. วิชาเฉพาะสาขา ประกอบด้วย วิชา
ME : Air conditioning /Refrigeration , Machine Design,
Power Plant Engineering
EE - Power : Electric Circuits, Electrical System Design,
Electric Power System Analysis
EE - Com : Electric Circuits, Com Network & Transmission,
Principle of Communications
CE : Structural Analysis, RC Design, Soil Mechanics

น.58
เกณฑ์ สภาวิศวกร ข้อบังคับ 2543 บังคับใช้ตั้งแต่ผู้เข้าเรียนปีการศึกษา 2546
ตารางรายวิชาตั้งแต่ผู้เข้าเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2546
http://www.coe.or.th/subject_coe/subject_m.html

น.59
ใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร
คุณสมบัติผู้ขอรับใบอนุญาตฯ ภาคีวิศวกร
(ตั้งแต่ผู้เข้าเรียนปีการศึกษา 2546)
1. จบการศึกษาจากสถาบันที่ สภาฯ ( หรือ ก.ว. เดิม) รับรองปริญญา (หลักสูตร)
2. เรียนครบรายวิชาทั้ง 3 กลุ่ม
กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ (18 หน่วยกิต) ผ่าน D ก็นับได้
กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ (18 หน่วยกิต) ผ่าน C จึงจะนับได้ (บังคับเรียน 1 – 4 )
กลุ่มวิชาเฉพาะสาขาฯ (12 หน่วยกิต) ต้องผ่าน C
3. คุณสมบัติอื่น ๆ ครบถ้วน :- อายุ / สัญชาติ / สุขภาพ
4. ผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ จะพิจารณาเป็นราย ๆ
5. กรณีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ จะถูกปฏิเสธคำขอฯ ต้องเรียนเพิ่ม หรือ Regrade ให้ครบ
6. ผ่านการอบรม / สอบ ความพร้อมในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
** อนุโลมนับรายวิชาที่เรียนภาคฤดูร้อน ผ่าน C ตั้งแต่การเรียนในปีการศึกษา 2546

น.60
ข้อบังคับสภาวิศวกร ๒๕๔๙
ผู้ที่ยื่นขอรับใบอนุญาตฯ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552
( จากทุกหลักสูตรที่ผ่านการรับรองจากสภาฯ หรือ ก.ว. เดิม )
จะต้องผ่านการสอบวิชาการก่อนทุกคน
ข้อบังคับการออกใบอนุญาตภาคี 2549
http://www.coe.or.th/co15law/act/00187166.pdf
ระเบียบผู้มีสิทธิทดสอบความรู้ 2549
http://www.coe.or.th/co15law/act/00187185.pdf

น.61
ข้อบังคับสภาวิศวกร ๒๕๔๙
การทดสอบความรู้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มวิชา
ข้อสอบแบบปรนัย 100 ข้อ 4 ตัวเลือก ก ข ค ง
วิชาบังคับ ทุกสาขาสอบวิชาเดียวกัน ( วิชาลำดับที่ 2.1 – 2.4 )
วิชาเลือกเฉพาะสาขา เลือกสอบ 4 วิชาจาก 8 กลุ่มวิชา ( 3.1 – 3.8 )
เกณฑ์การสอบผ่าน 60 %
ปัจจุบันแต่ละสาขาออกข้อสอบไว้แล้ววิชาละ 400 ข้อ

น.62
ระเบียบสภาวิศวกร ๒๕๔๙
-ผู้มีสิทธิเข้าทดสอบความรู้ต้องจบจากหลักสูตรที่ผ่านการรับรอง ทั้งเกณฑ์ ก.ว. เดิม (2540) และเกณฑ์ใหม่สภาฯ (2543)
[ ต้องยื่นหลักฐานการจบการศึกษา พร้อม Transcript ]
-ผู้จบจากหลักสูตรต่างประเทศ กพ. ต้องรับรอง จะพิจารณาเป็นการเฉพาะรายตามเกณฑ์ใหม่สภาฯ (2543)
-ข้อบังคับและระเบียบไม่บังคับต้องผ่าน C ในรายวิชาบังคับ

น.63
การสอบ ภาคีฯ ME ปี 2552
1. วิชา พื้นฐาน : ประกอบด้วย วิชา
Engineering Drawing / Engineering Mechanics /
Engineering Materials / Computer Programming
2. วิชาเฉพาะสาขา เลือกสอบ 4 วิชา (ไม่ซ้ำกลุ่ม) จาก 8 กลุ่ม ประกอบด้วย วิชา
1. Mechanics of Machinery/ Ship Dynamics/ Dynamics of Vehicles/ Mechanics of Flight/ Theory of Machines/ Theory of Agricultural Machines
2. Machine Design/ Ship Design/ Aircraft Design/ Agricultural Machinery Design
3. Automatic Control/ Digital Control/Automotive Control / Fluid Power Control
4. Mechanical Vibration/ Vibration Control
5. Internal Combustion Engines/ Combustion
6. Air Conditioning / Refrigeration / Freezing and Cold Storage
7. Heat Transfer/ Heat & mass Transfer / Thermal System Design
8. Power Plant Eng./ Ship Propuls. & Engines/ Aircraft Power/ Power for Agri. System

น.64
ขอขอบคุณ
สภาวิศวกร
Tel 02-935-6868 Email : coe@coe.or.th
www.coe.or.th
Webboard สภาวิศวกร
http://www.coe.or.th/eservice/coe_webboard/coe_index.php